ข่าวประชาสัมพันธ์
ปัจจุบันการดำเนินธุรกิจต้
มากที่สุดในรอบ 10 ปี มีกำไร 472 ล้านบาท คิดเป็นอัตราการเติบโตกำไรที่ 13.2%
ซึ่งความสำเร็จของ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค ในครั้งนี้ได้แรงส่งสำคัญจาก 3 กลุ่มธุรกิจหลัก ที่ถือได้ว่าเป็นจิ๊กซอว์ตั
- ธุรกิจ Digital Music เติบโตสูงถึง 31% และมียอดรายรับสูงที่สุดตั้งแต่
ก่อตั้งแผนก ทะลุ 1 พันล้านบาทเป็นครั้งแรกโดยมีราย รับที่ 1,123 ล้านบาท - ธุรกิจ Showbiz เติบโตขึ้น 36% มีอัตราการเจริญเติบโตสูงที่สุ
ดในกลุ่มธุรกิจเพลง โดยมียอดรายรับที่ 524 ล้านบาท - ธุรกิจการบริหารลิขสิทธิ์ เติบโตขึ้น 25% และมียอดรายรับที่ 313 ล้านบาท สูงที่สุดตั้งแต่ได้ทำการบริ
หารจัดการ
ทั้งนี้สัดส่วนรายได้ของ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค ในปี 2562 ประกอบด้วย
- ธุรกิจ Sponsorship & Artist Management มีรายได้ 1,408 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 35% ของธุรกิจ
- ธุรกิจ Digital Music มีรายได้ 1,123 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 28% ของธุรกิจ
- ธุรกิจ Showbiz มีรายได้ 524 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 13% ของธุรกิจ
- ธุรกิจ การบริหารลิขสิทธิ์ มีรายได้ 313 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 8% ของธุรกิจ
- ธุรกิจ Trading มีรายได้ 301 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วน 7% ของธุรกิจ
- ธุรกิจ อื่นๆ มีรายได้ 345 ล้านบาท คิดเป็นส่ดส่วน 9% ของธุรกิจ
นายภาวิต จิตรกร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายธุรกิจ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า “ไม่มีความสำเร็จใดที่เกิดขึ้
บันได 3 ขั้นที่จะนำไปสู่ความสำเร็จของ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค
บันไดขั้นที่ 1 Restructure – Refocus – Restabilize
บันไดขั้นที่ 2 Build – Invest – Aggregate
บันไดขั้นที่ 3 Infrastructure – Recurring – Sustainable
(บันไดทุกขั้นมี 3 เรื่องหลักที่ต้องทำเสมอ)
บันไดขั้นที่ 1 ในการนำพาธุรกิจให้เติ บโตและสำเร็จตามเป้าหมาย ประกอบไปด้วยวัตถุประสงค์ 3 ส่วน
Restructure (การปรับโครงสร้าง) เป็นสิ่งที่สำคัญที่สุ
Refocus (การทำสิ่งเดียวให้ดีที่สุด) เป็นการส่งเสริมและจัดระบบให้ที
Restabilize (การสร้างเสถียรภาพของรายได้) ในการปรับโครงสร้างองค์กร เราต้องมั่นใจว่าเราจะต้องมี
จากผลประกอบการปี 62 คงพอสรุปได้ว่ายุทธศาสตร์บั
วันนี้ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค พร้อมแล้วที่จะเล่าถึงบันไดขั้
ดังนั้น 7 ยุทธศาสตร์ในบันไดขั้นที่ 2 นี้จึงเป็นแผนแม่บทที่สำคั ญในการขับเคลื่อนธุรกิจในอีก 5 ปีข้างหน้า (2020 – 2025) ซึ่งประกอบไปด้วย
1.New Content Strategy & New Artist Development
จีเอ็มเอ็ม มิวสิค มีความมุ่งมั่นที่จะทำให้อุ
– New Content Strategy การสร้างศิลปินและแนวเพลงให้มี
– New Artist Development การสร้างศิลปินใหม่ก็มีความสำคั
2.Showbiz Expansion
ขยายธุรกิจ Showbiz อย่างไร้ขีดจำกัด โดยเราสามารถแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบของการขยาย ได้ดังนี้
- ขยายธุรกิจ Music Festival ให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ ยุทธศาสตร์ ทุกภาค ทั่วประเทศ
- ขยายธุรกิจ Solo Concert ครอบคลุมทั้งศิลปินปัจจุบันที่
มีความพร้อม ศิลปินหน้าใหม่ที่ต้ องการโอกาสและศิลปินกลุ่มโทรที่ มีแฟนคลับเหนียวแน่น - ขยายธุรกิจ Theme Concert ด้วยการร่วมมือกับ Creator ใหม่ๆที่มาจากอุตสาหกรรมต่างๆที่
หลากหลาย - ขยายธุรกิจสู่การเป็น Promoter ในการจัด International Showbiz ในประเทศไทย
เรามั่นใจว่าธุรกิจ Showbiz ของ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค สามารถยืนหนึ่งในการเป็นผู้
– เรามีทีมการตลาดที่แข็งแรงที่สุ
– เรามีทีม Marcom ที่มีความเชี่ยวชาญด้าน Social Media มีความเข้าใจในเรื่องของ Community Insight ในทุก Social Platform เป็นอย่างดี ทำให้เราตอบสนองแฟนคลับได้อย่
อย่างไรก็ตาม เราพร้อมเสมอที่จะร่วมมือกับทุก Partner หรือทุกค่ายเพลงต่างๆในการจัด Concert เพราะ Backbone ของ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค สามารถเป็นประโยชน์ที่จะสร้
3.Artist Product
การสร้างสินค้าศิลปินนั้นต้องพูดให้ชัดเจนเลยว่าสินค้าที่พูดอยู่นี้ไม่ใช่ Merchandising แต่เป็นสินค้าผลิตภัณฑ์ของศิลปินที่ศิลปินเป็นเจ้าของจริงๆได้รับกำไรขาดทุนจริงๆ โดยที่มีจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นผู้ลงทุน ซึ่งจะทำการเปิดตัวบริษัทใหม่ในเร็ววันนี้ ที่สำคัญการสร้างผลิตภัณฑ์นี้จะโฟกัสเฉพาะศิลปินที่อยู่ภายใต้สังกัดจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เท่านั้น โดยที่ผ่านมาได้ทำการทดลองออกสินค้าศิลปินไปแล้ว 1 ตัวเมื่อปีที่ผ่านมาและประสบความสำเร็จอย่างดีเยี่ยม และปีนี้จะต่อยอดความสำเร็จอย่างต่อเนื่องโดยการออกสินค้าใหม่อีก 4SKUs ซึ่งคาดว่าการเติบโตของธุรกิจประเภทนี้จะสามารถทำตัวเลข 9 หลัก ได้ภายใน 2 ปี
4.Industry Aggregation
เดินหน้า Aggregate รวบรวมพันธมิตรในวงการเพลงเพื่อสร้างประโยชน์ทางรายได้จากทุกช่องทางการค้าร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็น ช่องทาง Digital Platform, Karaoke Platform หรือการสร้างโปรเจกต์ร่วมกันก็ได้ ซึ่งการ Aggregate นั้นไม่ใช่เรื่องใหม่ โดยปัจจุบันทางจีเอ็มเอ็ม มิวสิค ได้ร่วม Aggregate กับค่ายเพลงต่างๆเกือบทุกค่ายแล้วเพียงแต่จะอยู่ในธุรกิจของการทำ MP3 เพียงเท่านั้น ฉะนั้นการเดินหน้าจับมือกับทุกค่ายเพลงก็เป็นอีกหนึ่งยุทธศาสตร์ในการสร้างผลประโยชน์ร่วมกันและยังสามารถสร้างรายได้ที่สูงขึ้นให้กับค่ายเพลงทุกค่าย
5.Media Partnership
ปีนี้เราจะร่วมมือกับสื่อชั้นนำทั่วประเทศแบบครบวงจร รวมถึง Platform รายใหญ่เพื่อการขยายฐานการเข้าถึงและการรับรู้ทั่วประเทศ ไม่ว่าจะเป็น สื่อทีวี, สื่อวิทยุ, สื่อ Outdoor และสื่อโรงภาพยนตร์
6.M&A
Mergers & Acquisitions เป็นแผนยุทธศาสตร์การเข้าซื้อกิจการที่สามารถสร้างโอกาสในการเกิด Leap Growth เพื่อการเติบโตอย่างรวดเร็วแบบก้าวกระโดดทางธุรกิจ โดยบริษัทมีเป้าหมายที่ชัดเจนในอุตสาหกรรมต่างๆที่จะเข้าซื้อภายในระยะเวลา 5 ปีต่อจากนี้
7.Data Creativity
ปัจจุบัน จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ พัฒนาเรื่องของการทำ Data และมีทีม Data Scientist ที่มีความเชี่ยวชาญในธุรกิจเพลงโดยเฉพาะ เรามองเรื่องของ Data ในมุมของความสร้างสรรค์มากกว่าแค่เพียงสถิติและความเป็นไปได้ เราสามารถหยิบเรื่องของ Data มาสร้างสรรค์โอกาสมากมายในการทำการค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงและเรากำลังจะเดินเข้าไปสู่ในเรื่องของการทำ Personalization เพื่อทำให้เกิด New Product Experience มากขึ้น เรื่องของ Data Prediction ถูกนำมาใช้ในการคำนวณโอกาสของการสร้างเพลงฮิต การสร้าง Concert ที่น่าจะ Sold out หรือการสร้างยอดขายของ Merchandising ที่แม่นยำ เป็นรูปธรรม แถมยังสามารถเข้าใจและวิเคราะห์ความเชื่อมโยงต่อการตัดสินใจซื้อของแฟนคลับ รวมถึงเรื่องพฤติกรรมของแฟนคลับที่ชื่นชอบศิลปินมากกว่า 1 คน หรือ Brand สินค้าและ Media ที่แฟนคลับศิลปินชื่นชอบ จึงทำให้เกิดประโยชน์และก่อให้เกิดการซื้อขายทั้งระบบการค้า
ทั้งหมดเป็นกลยุทธ์ 7 ด้านที่พร้อมจะทำให้จีเอ็มเอ็ม มิวสิค สามารถสร้างการเจริญเติบโตที่ยั่งยืนได้ โดยยุทธศาสตร์ทั้ง 7 ด้านนั้น มีรายละเอียดที่ซับซ้อนอีกมาก ซึ่งทางจีเอ็มเอ็ม มิวสิค จะทยอยเปิดตัวให้สื่อมวลชนได้ทราบรายละเอียดของแต่ละหัวข้อในลำดับถัดไป
นายภาวิต จิตรกร ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายธุรกิจ จีเอ็มเอ็ม มิวสิค บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน) ได้กล่าวทิ้งท้ายว่า “ถึงแม้วันนี้เราจะมียอดการเจริญเติบโตที่สูงอย่างต่อเนื่องมาตลอด 3 ปีติด แต่เราจะไม่ประมาทโดยเด็ดขาด เพราะคุณไพบูลย์ ได้ย้ำถึงหลักคิดหนึ่งที่ว่า “อย่าผูกขาดรสนิยม อย่าย่ามใจในความสำเร็จ” สิ่งที่เราเฝ้าระวังจึงไม่ใช่แค่เรื่องของ Disruption หรือเรื่องธุรกิจ แต่เป็นเรื่องของ “คน” เราเป็น People Business เราจะสำเร็จได้ล้วนต้องมีคนเก่งอยู่รอบตัวที่มีความสามารถ มีแรงใจ มีความกระหาย เราต้องคอยสังเกตการณ์และส่งเสริมศักยภาพของคนทำงาน บริษัทจะมีความเป็นเลิศได้ ทุกยุทธศาสตร์ที่วางไว้เป็นแค่เพียงความคิด คำพูด หรือเพียง Presentation ในห้องประชุมเท่านั้น เป้าหมายจะสำเร็จลุล่วงได้ต้องมีคนที่มีความสามารถลงมือทำ ฉะนั้น ความสำเร็จที่เกิดขึ้นนั้นจึงไม่ใช่แค่ความสำเร็จของบริษัท แต่เป็นความสำเร็จของคนทุกคนในบริษัทต่างหาก เราจึงจะดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืน”